พุทธศาสนิกชนอย่างเราคงคุ้นหูกันดี กับสัจธรรม 4 ประการ “ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ” แต่มีใครเคยพิเรนคิดแบบผมไหมว่า
ทำไมสั จธรรม ทั้ง 4 ไม่เรียงลำดับเป็น “ เกิด เจ็บ แก่ ตาย ” ? ทำไม แก่ ต้องมาก่อน เจ็บ ? ทำไมไม่เป็น เจ็บ มาก่อน แก่ ?
ทำไมสั จธรรม ทั้ง 4 ไม่เรียงลำดับเป็น “ เกิด เจ็บ แก่ ตาย ” ? ทำไม แก่ ต้องมาก่อน เจ็บ ? ทำไมไม่เป็น เจ็บ มาก่อน แก่ ?
ผมเคยคิดว่า อาจเป็นด้วยเหตุผลของภาษาที่จงใจเรียงให้คล้องจองกันดังนั้นจะสลับลำดับอย่างไรก็คงได้
หากผมจะจัดลำดับใหม่เป็น “ เกิด เจ็บ แก่ ตาย ” ก็คงไม่เสียหายอะไร ? ผมเคยคิดเช่นนั้นตลอดมา
จนวันที่นั่งอ่านหนังสือที่โด่งดังข้ามโลกของ น.พ.เอ็ดมันต์ เซน ผู้ค้นพบวิธีการรักษาร่างการด้วย โกรทฮอร์โมน
ทำให้เลิกคิดพิเรนเรื่องการจัดลำดับ แก่ เจ็บ หรือ เจ็บ - แก่ ไปเลย เพราะเนื้อหาสาระทางการแพทย์ที่โด่งดังนี้ ล้วนออกมาสนับ
สนุนงานศึกษาวิจัยอีกมากมายทั่วโลกก่อนหน้านี้อย่างสอดคล้องตรงกันว่า
หากผมจะจัดลำดับใหม่เป็น “ เกิด เจ็บ แก่ ตาย ” ก็คงไม่เสียหายอะไร ? ผมเคยคิดเช่นนั้นตลอดมา
จนวันที่นั่งอ่านหนังสือที่โด่งดังข้ามโลกของ น.พ.เอ็ดมันต์ เซน ผู้ค้นพบวิธีการรักษาร่างการด้วย โกรทฮอร์โมน
ทำให้เลิกคิดพิเรนเรื่องการจัดลำดับ แก่ เจ็บ หรือ เจ็บ - แก่ ไปเลย เพราะเนื้อหาสาระทางการแพทย์ที่โด่งดังนี้ ล้วนออกมาสนับ
สนุนงานศึกษาวิจัยอีกมากมายทั่วโลกก่อนหน้านี้อย่างสอดคล้องตรงกันว่า
“ แก่ ต้องมาก่อน เจ็บ ” เพราะ ความแก่ ทำให้เกิด ความเจ็บ ” เมื่อค้นคว้าเข้าไปมากขึ้นเกี่ยวกับการศึกษาวิจัยเรื่อง โกรทฮอร์โมน
และวิธีการต่อต้านความชรา (Anti-aging ) ก็ยิ่งตอกย้ำเพิ่มขึ้นว่าลำดับของสัจธรรมว่า “ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ” นั้น
เป็นกฎของจักรวาลอันจะเปลี่ยนแปลงไม่ได้เลยแม้แต่น้อย เป็นกฎของชีวติที่ทุกทฤษฎีการแพทย์ล้วนต้องมาสนับสนุนเป็นเนื้อความเดียวกันกับกฎดังกล่าว
และวิธีการต่อต้านความชรา (Anti-aging ) ก็ยิ่งตอกย้ำเพิ่มขึ้นว่าลำดับของสัจธรรมว่า “ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ” นั้น
เป็นกฎของจักรวาลอันจะเปลี่ยนแปลงไม่ได้เลยแม้แต่น้อย เป็นกฎของชีวติที่ทุกทฤษฎีการแพทย์ล้วนต้องมาสนับสนุนเป็นเนื้อความเดียวกันกับกฎดังกล่าว
ความแก่ไม่ใช่เพียงวัยที่เพิ่มขึ้นเท่านั้น แต่ความแก่ยังทำให้มนุษย์ต้องทนทุกข์ทรมานจากโรคภัยไข้เจ็บ , จากภาวะที่จิตใจหดหู่
ซึ่งเศร้าจากอาการนอนไม่หลับ , จากร่างการที่อ้วนเทอะทะ , จากความเสี่ยงที่จะเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ความแก่เป็นสาเหตุ อย่างแท้จริงที่พิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ได้ว่าทำให้มนุษย์เจ็บและตาย
ซึ่งเศร้าจากอาการนอนไม่หลับ , จากร่างการที่อ้วนเทอะทะ , จากความเสี่ยงที่จะเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ความแก่เป็นสาเหตุ อย่างแท้จริงที่พิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ได้ว่าทำให้มนุษย์เจ็บและตาย
ความชราา คือ โรคชนิดหนึ่งที่มีสาเหตุแห่งโรคอ้วนพิสูจน์ได้ชัดเจนแล้ว หากเราระงับสาเหตุของโรคได้
เราก็จะสามารถคงความอ่อนเยาว์ , คงความมีสุขภาพดีได้ยาวนานเท่าที่ต้องการ
เราก็จะสามารถคงความอ่อนเยาว์ , คงความมีสุขภาพดีได้ยาวนานเท่าที่ต้องการ
ผลงานวิจัยการแพทย์ของ ดร . เลียวนาร์ด เฮย์ฟลิก , ดร . วลาดิมีย์ ดิลแมน , ดร . เกรซ วอง ,
น.พ.แดเนียล รุดแมน , น.พ.เอ็ดมันต์ เชน ฯลฯ ที่ต่างทุ่มเทศึกษาต่างกรรมต่างวาระกัน พอประมวลเป็นกรอบความคิดที่โยงใยกันดังนี้
น.พ.แดเนียล รุดแมน , น.พ.เอ็ดมันต์ เชน ฯลฯ ที่ต่างทุ่มเทศึกษาต่างกรรมต่างวาระกัน พอประมวลเป็นกรอบความคิดที่โยงใยกันดังนี้
จะเห็นได้ชัดเจนมากขึ้นว่า หากนาฬิกาชีวิตของเรายังคงทำงานเป็นปกติไม่เปลี่ยนแปลง ออกคำสั่งไม่ลดลง เราจะไม่แก่
เดิมทีเราเคยเชื่อว่าคนแก่คือคนผมหงอก , ผิวเหี่ยวย่น , สายตาฝ้าฟาง และเรามักเข้าใจกันว่าโดยเฉลี่ยคนอายุ 50 ปีขึ้นไปถึงจะถือว่าแก่
แต่ข้อมูลวิทยาศาสตร์เหล่านี้ยืนยันว่ามนุษย์ทุกคนเริ่มแก่เมื่ออายุครบ 20 หรือ 25 ปี! เท่านั้น
เดิมทีเราเคยเชื่อว่าคนแก่คือคนผมหงอก , ผิวเหี่ยวย่น , สายตาฝ้าฟาง และเรามักเข้าใจกันว่าโดยเฉลี่ยคนอายุ 50 ปีขึ้นไปถึงจะถือว่าแก่
แต่ข้อมูลวิทยาศาสตร์เหล่านี้ยืนยันว่ามนุษย์ทุกคนเริ่มแก่เมื่ออายุครบ 20 หรือ 25 ปี! เท่านั้น
ความแก่หรือความเสื่อมของเซลล์ทั่วร่างกายนี่เองเป็นสาเหตุอันแท้จริง ทำให้ร่างกายเราเกิดความเจ็บป่วยด้วยโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ
รวมถึงโรคแก่ชรา เราไม่ควรจินตนาการความแก่ด้วยคำจำกัดความว่า “ เหี่ยว- หงอก- งกเงิ่น- เลอะเลือน ” เท่านั้น
เพราะความแก่เป็นสาเหตุของสารพัดโรคภัยที่เริ่มบั่นทอนสุขภาพเราอย่างช้าๆ หลังจากที่เราเป็นหนุ่มสาวเต็มที่คือ อายุ 20 ปี
ความแก่หลังวัย 20 ปี ทำให้เราเริ่มสะสมไขมันส่วนเกิน, อ้วน, ผิวเริ่มเหี่ยวย่น, บวกกับภาวะความเสี่ยงต่อโรคทั้งที่เกิดจากความเสื่อม
(Degenerative disease : โรคที่ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค) และโรคที่เกิดจากการติดเชื้อ (Non-degenerative disease )
รวมถึงโรคแก่ชรา เราไม่ควรจินตนาการความแก่ด้วยคำจำกัดความว่า “ เหี่ยว- หงอก- งกเงิ่น- เลอะเลือน ” เท่านั้น
เพราะความแก่เป็นสาเหตุของสารพัดโรคภัยที่เริ่มบั่นทอนสุขภาพเราอย่างช้าๆ หลังจากที่เราเป็นหนุ่มสาวเต็มที่คือ อายุ 20 ปี
ความแก่หลังวัย 20 ปี ทำให้เราเริ่มสะสมไขมันส่วนเกิน, อ้วน, ผิวเริ่มเหี่ยวย่น, บวกกับภาวะความเสี่ยงต่อโรคทั้งที่เกิดจากความเสื่อม
(Degenerative disease : โรคที่ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค) และโรคที่เกิดจากการติดเชื้อ (Non-degenerative disease )
ใช่แล้ว ! คำตอบคือ โกรทฮอร์โมน ( Human Growth Hormone : HGH)
โกรทฮอร์โมน คือกุญแจสำคัญที่ช่วยคลายปริศนาของมวลมนุษยชาติหลายพันปีที่ผ่านมา บัดนี้มนุษย์พบแล้วว่าการเพิ่มปริมาณ โกรทฮอร์โมน ให้มากขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น จะช่วยชดเชยและยับยั้งความเสื่อมจากความแก่ชราทั้งหลายลงได้อย่างน่าทึ่ง โกรทฮอร์โมน คืออาวุธใช้ต่อสู้กับความแก่ ( Antiaging) ที่ทรงอานุภาพและปลอดภัยที่สุดในปัจจุบัน